ยินดีต้อนรับเข้าสู่เว็บบล็อกรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำหรับครู (Information and Communication Technology for Teachers) ของ น.ส.ปวีณา รัตนสิทธิ์ เอกภาษาไทย หมู่ ๒ปี ๑

วันจันทร์ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ซอฟต์แวร์
(Software)
ซอฟต์แวร์  คือ การลำดับขั้นตอนการทำงานของคำสั่งคอมพิวเตอร์ที่จะทำหน้าที่สั่งคอมพิวเตอร์ว่าให้ทำอะไร เป็นชุดของโปรแกรมหลายๆโปรแกรมนำมารวมกันให้สามาถรทำงานได้อย่างครบถ้วนสมบรูณ์ตามที่ต้องการ เรามองไม่เห็นหรือสัมผัสไม่ได้แต่เราสามรถสร้าง จัดเก็บ และนำมาใช้งานหรือเผยแพร่ได้ด้วยสื่อหลายชนิดเช่น แผ่นบันทึก แผ่นซีดี แฟล็ซไดร์ฟ ฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น
หน้าที่ของซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมระหว่างใช้คอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์ เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย ซอฟต์แวร์สำหลับเคร่องคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท

ประเภทของซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์แบ่งเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ
ซอฟตืแวร์ระบบ (System Software)
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application  Software)
และซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ

1.ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
ซอฟต์แวร์ระบบเป็นโปรแกรมที่บริษัทผู้ผลิตสร่ช้างขึ้นมาเพื่อใช้การกับระบบ หน้าที่การทำงานของซอฟต์แวร์ระบบ คือ ดำเนินงานพื้นฐานต่างๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระแล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ นำข้อมูลไปแสดงผลบนหน้าจอภาพหรือ นำออกไปยังเครื่องพิมพ์ จัดการข้อมูลในระบบแป้นพิมพ์บนหน่วยความจำรอง

ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
Sysftem Software หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีคือ Dos, Windows, Fortran ,Pascal,Codol,C เป็นต้น
นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบเช่น Norton's  Utilities ก็นับป็นโปรแกรมสำหรับระบบด้วยเช่น
หน้าที่ของซอฟต์แวร์ระบบ

1.ใช้ในการจัดหน่วยรับเข้าและหน่วยส่งออก เช่น รับรู้การกดแป้นต่างๆ บนแผงอักขระ ส่งรหัสส่งออกทางจอภาพหรือเครื่องพิมพ์ ติกต่อกับอุปกรรับเข้าและส่งออกอื่นๆ เช่า เมาส์ ลำโพงเป็นต้น
2.ใช้ในการจัดการหน่วยความจำ เพื่อนำข้อมูลจากแผ่นบันทึกข้อมาบรรจุมายังหน่วยความจำหลัก หรือในทำนองกลับกัน คือนำข้อมูลจากหน่วยความจำหลักมาเก็บไว่ในแผ่นบันทึก
3.ใช้เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามรถใช้งานได้ง่ายขึ้น เช่น ขอดูรายการในสารบบ (directory)  ในแผ่นบันทึ การทำสำเนาแฟ้มข้อมูล
ซอฟต์แวร์ระบบพื้นฐานที่เห็นกันทั่วไป แบ่งออกเป็นระบบปฏิบัติการ และ ตัวแปลภาษา

ประเภทของซอฟตืแวร์ระบบ
ซอฟต์แวร์ระบบ แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ
1. ระบบปฏิบัติการ (Operatin Srstem: OS)
2.ตัวแปลภาษา

1. ระบบปฏิบัติการ หรือที่เรียกย่อๆ ว่า โอเอส  (Operatin Srstem :OS) เป็น
ซอฟต์แวร์ใช้ในการดูและระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัตฺการนี้ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดีเช่น ดอส วินโดวส์ ยูนิกซื ลีนุกซ์ และแมคอินทอช เป็นต้น
1. ระบบปฏิบัติการ (Operatin  Sretem: OS )

1)ดอส (Disk Operating System: DOS) เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษรที่รู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ไมโค



2)ระบบปฏิบัติการ( Operatin sytem:OS)

2) วินโดวส์ ป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส โดยใหผู้ใช้สามรถสี่งงานได้จากเมาส์มากขึ้นแทนการใช้แผงแป้นักขระเพียงอย่างเดียวนอกจากนี้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ยังสามรถทำงานหลายง่นพร้อมกันด้ โดยงานแต่ละงานเน้นรูปแบบกราฟิก ผู้ใช้งานสามรถใช้งานเมาส์เลือนตัวชี้เพื่อเลือกตำแหน่งที่ปราฎกบนจอภาพ ทำให้ใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ง่าย
ระบบปฏิบัติการวินโดวส์จึงได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน
3)ยูนิกซ์(Unix )เป็นระบบปฏิบัติการเพื่อที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์เนระบบปฏิบัติการที่เป็นเทคโนโลยีแยยปิด (open system)  ซึ่งเป็นเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้องผูกติดกับระบบใดระบบหนึ่งหรือใช้อุปกรณ์ที่มียีห้อเดียวกัน ยูนิกซ์ยังถูกออกแบบมาเพื่อตอบสนองการใช้งานในลักษณะที่มีผู้ใช้ได้หลานคนในเวลาเดียวกันที่เรียกว่า ระบบหลายผู้ใช้ (multitasking )ระบบปฏิบัติการ
นิกซ์จึงนิยมใช้กับเครื่องที่เชื่อมโยงเป็นเครื่อข่าย เพื่อใช้งานร่วมกันหลายๆ เครื่องพร้อมกัน
4. ลีนุกซ์ linux เป็นระบบปฏิบัติการเพื่อการพัฒนามาจากระบบยูนิกซ์ เป็นระบบซึ่งมีการแจกจ่ายโปรแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนาช่วยกันพัฒนาคุณสมบัติของระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์เป็นที่นิยมกันมากขึ้นในปัจจุบัน เนื่องจากมีโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ที่ทำงานบนระบบลีนุกซ์จำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งโปรแกรมในกลุ่มของกูส์นิว GNU  และสิ่งที่สำคัญที่สุด
ระบบลีนุกซ์ สามารถทำงานได้บนซีพียู หลายตระกูล เช่น PC Intel ดิจิตอล Didital Aipha Computer และซันสปาร์ค SUN SPARC  ถึงแม้ว่าในขณะนี้ลีนุกซ์ยังไม่สามรถแทนที่ระบบปฏิบัติการวินโดวส์บนพีซีได้ทั้งหมดก็ตาม แต่ผู้ใช้จำนวนมากได้หันมาใช้และช่วยพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนลีนุกซ์กันมากขึ้น
5.แมคอินทอช macintosh  เป็นระบบปฏิบัติการสำหลับเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ แมคอินทอช ส่วนมากนำไปใช้งานด้านกราฟริก ออกแบบและจัดแต่งเอกสาร นิยมใช้สำนักพิมพ์ต่างๆ
นอกจากระบบปฏิบัติการที่กล่าวมาแล้วยังมีระบบปฏิบัติการอีกมาก เช่นระบบปฏิบัติการที่ใช้ในเครื่อข่ายคอมพิงเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานร่วมกันเป็นระบบ เช่น ระบบปฏิบัติการเน็ตแวร์ นอกจากนี้ยังมีระบบปฏิบัติการที่ใช้งานเฉพาะกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นมาเพื่องานใดงานหน่งโดยเฉพาะ ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ในห้องปฏิบัติการ 

ชนิดของระบบปฏิบัติการ จำแนกตามการใช้งานสามรถจำแนกออกได้เป็น 3 ชนิดด้วยกัน คือ
1. ประเภทใช้งานเดียว  (single- tasing) ระบบปฏิบัติการประเภทนี้จะกำหนดให้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครั้งละหนึ่งงานเท่านั้น ใช้เครื่องขนาดเล็กอย่างไมโคคอมพิวเตอร์ เช่น ระบบปฏิบัติการ ดอส ป็นต้น
2.ประเภทใช้ได้หลายงาน Multi-tasking 
ระบบปฏิบัติการประเภทนี้สามารถควบคุมการทำงานพร้อมกันหลายงานในขณะเดียวกัน ผู้ใชข้สามรถทำงานกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้หลายชนิดในเวลาเดียวกัน เช่น ระบบปฏิบัติการ Windows 98 ขึ้นไป และ UNIX เป็นต้น

3.ประเภทใช้งานหลายคน Multi-user
ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทำหน้าที่ประมวลผล ทำให้ขณะใดขณะหนึ่งมี่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์พร้อมกันหลายคน แต่ละคนจะมีสถานีงานของตนเองเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ จึงต้องใช้ระบบปฏิบัติการที่มีความสามรถสูง เพื่อให้ผู้ใช้ทุกคนสามรถ Windows NT และ UNIX เป็นต้น