ยินดีต้อนรับเข้าสู่เว็บบล็อกรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำหรับครู (Information and Communication Technology for Teachers) ของ น.ส.ปวีณา รัตนสิทธิ์ เอกภาษาไทย หมู่ ๒ปี ๑

วันพุธที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2555

ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 มนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงานมนุษย์ต้องบอกวิธีให้คอมพิวเตอร์ได้รับรู้และทำงานได้อย่างถูกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลาง ถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวันแล้ว เรามีภาษาใช้ในการติดต่อซึงกันและกัน เช่นเดียวกันที่มนุษย์ ต้องการจะถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเตอร์รับรู้และปฏิบัติตามจะต้องมีสื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้เราเรียกสื่อกลางนี้ว่า ภาษาคอมพิวเตอร์

 ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุกต์ประกอบด้วย
ภาษาเครื่อง(Machine Languages)
          เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้าใช้แทนด้วยตัวเลข 0 และ 1 ได้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข 0 และ 1นี้เป็นรหัสผ่าแทนคำสั่งในการทำงานคอมพิวเตอร์ข้อมูลคำสั่งตัวเลขฐานสองนี้ คอมพิวเตอร์สามารถใช้งานได้
        เราเรียนเลขสองหลักฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่งเพื่อสั่งงานคอมพิวเตอร์ว่าภาษาเครื่อง
 การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปอื่นที่เป็นตัวอักษร
<!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
<!--[endif]-->
ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Languages)
             เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 2 ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแอกเซมบลีช่วยลดความยุ่งยากในการเขียนโปรแกรมเพื่อการติดต่อคอมพิวเตอร์แต่อย่างไรก็ตามภาษาแอกเซมบลีก็ยังมีความใกล้เคียงภาษาเครืองอยู่มาก และจำเป็นต้องใช้ตัวแปรภาษาที่เรียกว่าแอสเซมเบลอร์ (Assemberlr) เพื่อแปลงชุดภาษาแอกเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง
<!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
<!--[endif]-->
ภาษาระดับสูง (High-Level Languages)
           เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่3 เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า Statementh ที่มีลักษณะเป็นประโยคภาษาอังกฤษทำให้ผู้เขียโปรแกรมสามารถเข้าใจชุดคำสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานง่ายขึ้น ผู้คนทั่ไปสามารถเรียนรู้และเขียนโปรแกรมง่ายขึ้น เนื่องจากภาษาระดับสูงใกล้เคียงภาษามนุษย์ ตัวแปรภาษาระดับสูงเพื่อให้เป็นภาษาเครื่องนั้นมีอยู่2ชนิดด้วยกันคือ
<!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
<!--[endif]-->
คอมไพเลอร์ (Compiler) และอินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter)
<!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
<!--[endif]-->
คอมไพเลอร์ จะทำการแปรโปรแกรมที่เขียนเป็นโปรแกรมภาษาระดับสูง ทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อนแล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น
อินเทอร์พรีเตอร์จะทำการแปรที่ละคำสั่งและคอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้น เมื่อทำเส็จแล้วจึงมาทำการแปรคำสั่งลำดับต่อไปข้อแตกต่างระหว่างคอมไพเลอร์กับอินเทอร์พลีเตอร์จึงอยู่ที่การแปลทั้งโปรแกรมหรือแปรที่ละคำสั่ง
การทำงานของระบบ network และ Internet   โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1.เครือข่ายเฉพาะที่ (Local Area Network : LAN)
เป็นเครือข่ายที่มักพบเห็นกันในองค์กรโดยส่วนใหญ่ของลักษณ์ของการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ LAN จะอยู่ในพื้นที่ใกล้ๆกัน เช่นอยู่ภายนอกอาคาร หรือหน่วยงานเดียวกัน
2.เครือข่ายเมือง (Metropolitan Area Network:MAN)
 เป็นกลุ่มของเครือข่าย lan  ที่นำมาเชื่อมต่อกันเป็นวงที่ใหญ่ขึ้น ภายในบริเวณใกล้เคียงกัน เช่น เมืองเดียวกัน เป็นต้น
3.เครือข่ายบริเวณกว้าง (Wide Area Network:WAN)
เป็นเครือข่ายที่ใหญ่ขึ้นไปอีกระดับ โดยเป็นการรวมเครือข่ายทั้ง LAN และ MAL มาเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายเดียวกัน ดังนั้นเครือข่ายนี้ครอบคลุมพื้นที่กว้างไปทั่วประเทศ หรือทั่วโลก เช่นอินเตอร์เน็ต ถือเป็นเครือข่ายสาธารณะ ที่ไม่มีใครเป็นเจ้าของ
<!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
<!--[endif]-->
โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Network Topology)
   การจัดระบบการทำงานของเครือข่าย มีรูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย อันเป็นการจัดวางคอมพิวเตอร์ และการเดินสายสัญญาณคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายรวมถึงการไหลเวียนของข้อมูล ในเครือข่ายด้วยโครงสร้างในเครือข่ายหลักมี 4 แบบ คือ
1.เครือข่ายแบบดาว
2.เครือข่ายแบบวงแหวน
3.เครือข่ายแบบบัส
4.เครือข่ายแบบต้นไม้
รูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย


1.เครือข่ายแบบดาว เป็นแบบการต่อสายเชื่อมโยงโดยการนำสถานีต่างๆ มาต่อรวมกันกับสายสลับสายกลาง การติดต่อสื่อสารระหว่างสถานีจะทำการได้ด้วยการติดต่อผ่านทางวงจรของหน่วยสลับสายกลางจึงคล้ายกับศูนย์กลาง ของการติดต่อวงจรเชื่อมโยงระหว่างสถานีต่างๆ
เป็นการเชื่อมโยงการติดต่อสื่อสารคล้ายรูปดาวหลายแฉก โดยมีสถานีกลาง หรือ ฮับ เป็นจุดการติดต่อกันระหว่างทุกโหมดในเครือข่าย สถานีกลางยังทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางควบคุมการสื่อสารทั้งหมด  การสื่อสารภายในเครือข่ายแบบดาว จะเป็นแบบ2ทิศทางโดยจะอนุญาตเพื่อป้องกันชนการของสันญาณของข้อมูลเครือข่ายแบบดาวเป็นเครือข่ายหนึ่งที่นิยมใช้กันในปัจจุบัน
2.เครือข่ายแบบวงแหวน  เป็นแบบที่สถานีของเครือข่ายทุกสถานีจะต้องเชื่อมต่อกันเครื่องขยายตัวสัญญาณที่ส่งจะรับและส่ง ถ้าใช้ก็รับไว้แต่ถ้าไม่ใช่ก็ส่งต่อไปเรื่อยๆเป็นวงหากข้อมูลที่ส่งเป็นสถานีใด เครื่องขยายสัญญาณของสถานีนั้นก็รับและส่งให้สถานีนั้นๆเครื่องขยายสัญญาณต้องมีการตรวจสอบข้อมูลที่ได้รับว่าเป็นของตนเองหรือไม่ด้วยถ้าใช้ก็รับไว้แต่ถ้าไม่ใช่ก็ส่งต่อไป
3.เครือข่ายแบบบัส (Bus Network) เป็นเครือข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆด้วยสายเคเบิ้ลยาว ต่อเนื่องกันไปเรื่อยๆ โดยมีอุปกรณ์ที่มีคอมพิวเตอร์เพียงตัวเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลได้ช่วงเวลาหนึ่ง การจัดส่งข้อมูลด้วยวิธีนี้จะต้องกำหนดพิธีการ สัญญาณที่แตกต่างกันในการติดตั้งเครือข่ายแบบบัส คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ที่รับข้อมูลทุกชนิดถูกเชื่อมต่อด้วยสายเคเบิ้ลเพียงเส้นเดียวซึ่งจะใช้ในเครือค่ายเล็ก ในองค์กรที่มีคอมพิวเตอร์ใช้ไม่มากนัก
   อุปกรณ์ทุกชิ้นหรือโหมดทุกโหมดในเครือข่ายจะต้องเชื่อมโยงเข้ากับสายสื่อสารหลักที่เรียกว่า
 4.เครือข่ายแบบต้นไม้ (Tree Network) เป็นเครือข่ายที่มีการผสมผสานโครงสร้างเครือข่ายแบบต่างๆเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ การจัดส่งข้อมูลสามารถ ส่งไปถึงได้ทุกสถานี การสื่อสานข้อมูลผ่านตัวกลางไปยังสถานีอื่นๆได้ทั้งหมด เพราะทุกสถานีจะอยู่บนทางเชื่อม รับส่งข้อมูลเดียวกัน
 
การประยุกต์ใช้งานของระบบคอมพิวเตอร์
  ระบบเครือข่ายทำให้เกิดการสื่อสาร และการแบ่งปันกันใช้ทรัพยากรระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะหมายความรวมถึงการสื่อสารและแบ่งปันใช้ข้อมูลระหว่างบุคคลด้วย ซึ่งทั้งหมดนี้คืองานของระบบ
ระบบเครือข่ายแบ่งตามลักษณะการทำงานได้เป็น3ประเภท
1.ระบบเครือข่ายแบบศูนย์กลาง (Centrallized Networks)
2.ระบบเครือข่ายแบบ  Peer-to Peer
3.ระบบเครือข่ายแบบ Client / Server
1.ระบบเครือข่ายแบบศูนย์กลาง (Centrallized Networks)
เป็นระบบที่มีเครื่องหลักเพียงเครื่องเดียวที่ใช้ในการประมวลผลได้ และมีการเชือมต่อไปยังเครื่องเทอร์มินอลที่อยู่รอบๆ ใช้การเดินสายเคเบิ้ลเชื่อมต่อกันโดยตรง เพื่อให้เครื่องเทอร์มินอลสามารถเข้าใช้งาน โดยส่งคำสั่งต่างๆ มาประมวลผลที่เครื่องกลางวึ่งมักเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรมประสิทธิภาพสูง
2.ระบบเครือข่ายแบบ  Peer-to Peer
แต่ระสถานีงานบนระบบเครือข่ายPeer-to Peer จะมีความเท่าเทียมกันสามารถที่จะแบ่งปันทรัพยากรให้แก่กันและกันได้ เช่น การใช้เครื่องพิมพ์หรือแฟ้มข้อมูลร่วมกันในเครือข่าย เครื่องแต่ละสถานีงานมีขีดความสามารถในการทำงานได้ด้วยตัวเอง (Stand Alone) คือจะต้องมีทรัพยากรภายในของตัวเอง เช่นดิสก์สำหรับเก็บข้อมูล หน่วยความจำที่เพียงพอ และความสามารถในการประมวลผลข้อมูลได้
3.ระบบเครือข่ายแบบ Client / Server
 ระบบClient / Server สามารถสนับสนุนให้มีเครื่องลูกข่ายได้เป็นจำนวนมาก และสามารถเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ได้หลายสถานี ทำงานโดยมีเครื่อง Server ที่ให้บริการเป็นศูนย์กลางอย่างน้อย1เครื่อง และมีการบริหารจัดการทรัพยากรต่างๆ จากส่วนกลาง ซึ่งคล้ายกับระบบเครือข่ายแบบศูนย์รวมกลาง แต่สิ่งที่แตกต่างกันคือ เครื่องที่ทำหน้าที่ให้บริการในระบบClient / Server ราคาไม่แพงมาก ซึ่งอาจใช้เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูงในการควบคุมการให้บริการ ทรัพยากรต่างๆ
   นอกจากนี้เครือข่ายยังต้องมีความสามารถในการประมวลผล และมีพื้นที่สำหรับจัดเก็บข้อมูลท้องถิ่นเป็นของตนเอง
ระบบเครือข่ายแบบClient / Server เป็นระบบที่มีความยืดหยุ่นสูง สนับสนุนการทำงานแบบ Multiprocessor สามารถเพิ่มขยายขนาดของจำนวนผู้ใช้ได้ตามต้องการ นอกจากนี้ยังสามารถเพิ่มจำนวนเครื่อง Server สำหรับให้บริการต่างๆเพื่อช่วยกระจายภาระของระบบได้ ส่วนของเสียของระบบนี้คือ มีความยุ่งยากในการติดตั้งมากกว่า ระบบPeer-to Peer รวมทั้งต้องการบุคลากรเพื่อการบริหารจัดการระบบโดยเฉพาะอีกด้วย
ซอฟต์แวร์ประยุกต์(Application Software)
ซอฟต์แวร์ที่ใช้ทำงานร่วมกันคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้งานเฉพาะด้านเช่น การจัดพิมพ์รายงาน การนำเสนองาน หรือการออกแบบเว็บไซต์ เป็นต้น
ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์
แบ่งตามลักษณะการผลิต จำแนกได้เป็น2ประเภท คือ
 1.ซอฟแวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ
(Proprietary Software)
 2.ซอฟแวร์ที่หาซื่อได้ทั่วไป (Packaged Software)
มีโปรแกรมเฉพาะ และโปรแกรมมาตรฐาน (Stannbard Package)
ประเภทของซอฟแวร์ประยุกต์
แบ่งตามกลุ่มใช้งาน จำแนกได้กลุ่มใหญ่ๆ
1.กลุ่มการใช้งานทางธุรกิจ
(Business)
2.กลุ่มด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย (Graphic Multimedia)
3.กลุ่มการใช้งานบนเว็บ (Web and Communications)
กลุ่มการใช้งานทางด้านธุรกิจ(Business)
ซอฟแวร์กลุ่มนี้ ถูกนำใช้ในการเพิ่มประสิทธิภาพในการนำเสนองานและการบันทึกนัดหมายต่างๆ ตัวอย่างเช่น :โปรแกรมประมวลคำ อาทิ Microsoft . Word. Sun Staroffice Writer
โปรแกรม ตารางคำนวณ อาทิ Microsoft  Excel.Sun Staroffice Cals
โปรแกรมนำเสนองาน อาทิ Microsoft Powerpont.Sun Staroffice Impress
กลุ่มการใช้งานด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย
ซอฟแวร์กลุ่มนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยจัดการด้านงานกราฟิกและมัลติมีเดียเพื่อใช้งานมากขึ้น เช่นการตกแต่ง วาดรูป ปรับเสียง ตัดต่อ ภาพเคลื่อนไหว เป็นต้น
โปรแกรมงานออกแบบ อาทิ Microsoft  Visio Professional
โปรแกรมตกแต่งภาพ อาทิ CorelDRAW.Adobe Photoshop
โปรแกรมตัดต่อวิดีโอและเสียง Adobe Premiara.Pinnacle studio DV
โปรแกรมสร้างสื่อมัลติมีเดีย อาทิ Adobe Authorware .Toolbook Instructor. Adobe Director
โปรแกรมสร้างเว็บ อาทิ Adobe Flash. Adobe Dreamwerver
กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
เมื่อเกิดการเติบโตของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตซอฟแวร์กลุ่มนีไดพัฒนาใช้งานเฉพาะเพิ่มมากขึ้น เช่น โปรแกรมการตรวจเช็คอีเมล การท่องเว็บ การจัดการดูแลเว็บ เป็นต้น
โปรแกรมจัดการอีเมล อาทิ Microsoft Outlook.Mozzila Thunderbird
โปรแกรมท่องเว็บ อาทิMicrosoft   Internet Explorer Mozzila Firefox
โปรแกรมประชุมทางไกล(Video Confarence) อาทิMicrosoft   Netmeeting
โปรแกรมส่งข้อความด่วน (Internet Messaging) อาทิ MSN Messenger/Windows Messanger.ICQ
โปรแกรมสนทนาบนอินเทอร์เน็ต อาทิ PIRCH.MIRCH
ความจำเป็นของการใช้ซอฟแวร์
การใช้ภาษาเครื่องนี้ ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมากเพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอักษร เป็นประโยคข้อความ เรียกว่าภาษาระดับสูง ภาษาระดับสูงมีมากมาย บางภาษามีความเหมาะสมกับการใช้สั่งงานการคำนวณทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางด้านการจัดการข้อมูล

1.ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software )
ซอฟต์แวร์ระบบเป็นโปรแกรมที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จัดการกับระบบ หน้าที่การทำงานของซอฟต์แวร์ระบบ คือการดำเนินงานพื้นฐานต่างๆของระบบคอมพิวเตอร์ เช่นรับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระแล้วแปรความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ นำข้อมูลไปแสดงผลเป็นหน้าจอภาพหรือนำออกไปยังเครื่องพิมพ์จัดการาข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูลบนหน่วยความจำรอง
ซอฟต์แวร์ระบบ(System Software )
 หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ DOS,Windows,Unix,Linux รวมโปรแกรมแปรคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง เช่น ภาษาBasic,Fortran,Pascal,Cobol,C เป็นต้น
นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบเช่น Norton's Utilities ก็นับเป็นโปรแกรมสำหรับระบบด้วยเช่นกัน

<!--[if !supportLineBreakNewLine]-->
<!--[endif]-->
หน้าที่ของซอฟต์แวร์ระบบ
1) ใช้ในการจัดการหน่วยรับเข้าและหน่วยส่งออก เช่นรับรู้การกดแป้นต่างๆ บนแผงแป้นอักขระ ส่งรหัสตัวอักษรออกจากจอภาพหรือเครื่องพิมพ์ ติดต่อกับอุปกรณ์ รับเข้าและส่งออกอื่นๆ เช่นเมาส์ ลำโพงเป็นต้น
2)ใช้ในการจัดการหน่วยความจำ เพื่อนำข้อมูลจากแผ่นบันทึกมาบันจุยังหน่วยความจำหลัก หรือในทำนองกลับกัน คือนำข้อมูลจากหน่วยความจำหลักมาเก็บไว้แผ่นบันทึก
3)ใช้เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อให้สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้นเช่น การขอดูรายการในสารบบ (directory) ในแผ่นบันทึก การทำสำเนาแฟ้มข้อมูล
ซอฟต์แวร์ระบบพื้นฐานที่เห็นกันทั่วไปแบ่งออกเป็นระบบปฏิบัติการและตัวแปลภาษา

ประเภทของซอฟต์แวร์ระบบ
ซอฟต์แวร์ระบบ แบ่งเป็น ประเภทคือ
1.ระบบปฏิบัติการ (Oparating System:os)
2.ตัวแปลภาษา
1. ระบบปฏิบัติการ หรือที่เรียกย่อๆ ว่า โอเอส (Oparating System:os) เป็น
ซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบ คอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟตืแวร์ระบบปฏิบัติการนี้ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รูจักกันดีเช้น ดอส วินดดวส์ ยูนิกซ์ ลีนุกซ์ และแมคอินทอช เป็นต้น

1.ระบบปฏิบัติการ(Oparating System:os)
1) ดอส (Disk Operating System:DOS) เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษร ดอสเป็นซอฟต์แวร์ที่รู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในอดีต ปัจจุบันระบบปฏิบัติการดอสนั้มีการใช้งานน้อยมาก

1.ระบบปฏิบัติการ(Oparating System:os)
2) วินโดวส์ (Windows) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส โดยให้ผู้ใช้สามารถทำงานได้จากเมาส์มากขึ้นแทนการใช้แผงแป้นอักขระ เพียงอย่างเดียวระบบปฏิบัติการวินโดวส์ยังสามารถทำงานพร้อมกันได้ โดยงานแต่ระงานจะอยู่ในกรอบช่องหน้าต่างใช้งานเน้นรูปแบบกราฟิก ผุ้ใช้งานสามารถใช้เมาส์เลื่อนตัวชี้เพื่อเลื่อกตำแหน่งที่ปรากกบนจอภาพทำให้ใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ง่ายระบบปฏิบัติการวินโดวส์จึงได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน
1.ระบบปฏิบัติการ(Oparating System:os)
3) ยูนิกซ์ (Unix) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กลับเครื่องคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ ที่เป็นเทคโนโลยีแบบเปิด (open system) ซึ่งเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ ไม่ต้องผูกติดกับระบบ ยูนิกซ์ยังถูกออกแบบเพื่อการตอนสนองการใช้งานใช้ได้หลายคนในเวลาเดียวกัน ผู้ใช้ (multiusers) และสามารถทำงานได้หลายๆงานในเวลาเดียวกัน ระบบภาระกิจ (multitasking) ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์จึงนิยมใช้กับเครื่องที่เชื่อมโยงเป็นเครือข่ายเพื่อใช้งานร่วมกันหลายๆ  เครื่องพร้อมกัน
1.ระบบปฏิบัติการ(Oparating System:os)
4) ลีนุกซ์ (linux) เป็นระบบปฏิบัติงานที่พัฒนามาจากระบบยูนิกซ์ โปรแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนาช่วยกันพัฒนาคุณสมบัติระบบปฏิบัติการลีนุกซ์เป็นที่นิยมกันมากขึ้นในปัจจุบัน ในระบบต่างๆทำงานแบบลีนุกซ์กันเป็นจำนวนมากโดยอย่างยิ่งโปรแกรมกลุ่มกูส์นิว (GNU) และสิ่งสำคัญที่สุดก็คือระบบลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการประเภทแจกฟรี(Free Ware) ผูใช้สามารถใช้งานได้โดยได้เลยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
ระบบลีนุกซ์ สามารถทำงานได้บนซีพียูหลายตระกูล เช่น อินเทล (PC Intel) fb0b9v] (Digital Alpha Computer) และสันสปาร์ค ถึงแม้ในขณะนี้ลีนุกซืยังไมสามารถแทนที่ระบบปฏิบัติการวินโดวซ์ บนซีพีได้ทั้งหมดก็ตามแด่ผู้ใช้จำนวนมากได้หันมาใช้และช่วยพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนรีนุกส์กันมากขึ้น
1.ระบบปฏิบัติการ(Oparating System:os)
5) แมคอินทอช (macintosh) เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ แมคอินทอช ส่วนมากนำมาใช้แบบกราฟิก
นอกจากระบบปฏิบัติการยังมีระบบปฏิบัติการอีกมาก เช่นระบบปฏิบัติการในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เน็ตแวร์ นอกจากนี้ยังมีระบบปฏิบัติการที่ใช้เฉพาะกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นมาใหม่ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ในสถาบันการศึกษา
ชนิดของระบบปฏิบัติการ สามารถจำแนกออกเป็นชนิดด้วยกันคือ
1. ประเภทใช้งานเดียว (Single-tasking)
ระบบปฏิบัติการประเภทนี้จะกำหนดให้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครั้งละหนึ่งงานเท่านั้น ใช้ในเครื่องขนาดเล็กอย่างไมโครคอมพิวเตอร์เช่น ระบบปฏิบัติการดอส เป็นต้น
2.ประเภทใช้งานหลายงาน (Multi-tasking)
ระบบปฏิบัติการประเภทนี้สามารถใช้งานได้หลายงานในเวลาเดียวกัน เช่นระบบปฏิบัติการ Windows98 ขึ้นไป และ UNIX เป็นต้น
3.ประเภทใช้งานหลายคน  (Multi-user)
.ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทำหน้าที่สามารถใช้พร้อมกันได้หลายคนแต่ละคนจะมีสถานีงานของตนเองเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ จึงต้องใช้ระบบปฏิบัติการที่มีความสามารถสูง เพื่อให้ผูใช้ทุกคนสามารถทำงานเสร็จในเวลาเช่นระบบปฏิบัติการ Windows NT และ UNIXเป็นต้น
2. ตัวแปลภาษา
การพัฒนาซอฟแวร์ต้องอาศัยซอฟแวร์ที่ใช้การแปลภาษาระดับสูงเพื่อแปลภาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง
   ภาษาระดับสูงมีหลายภาษาซึ่งสร้างขึ้นเพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมเขียนชุดคำสั่ง ได้ง่าย เข้าใจได้
ภาษาระดับสูงที่พัฒนาขึ้นทุกภาษาต้องมีตัวแปร ซึ้งภาษาระดับสูงได้แก่ basic.pascal. C และภาษาโลโก เป็นต้น
นอกจากนี้ ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันอีกมากได้แก่ Fortran.Cobol.และภาษาอาร์พีจี

วันจันทร์ที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2555

การทำงานของระบบ network และ Interner

โครงสร้างของเครื่อข่ายคอมพิวเตอร์
1.เครื่อข่ายเฉพาะที่ เป็นเครื่อข่ายที่มักพบกันในองค์กรการเชื่อมต่อเป็น Lan จะอยู่ไกลพื้นที่
2.เครื่อข่ายเมือง  เป็นกลุ่มของเครื่อข่าย LAN ที่นำมาเชื่อมต่อกันเป็นวงที่ใหญ่ขึ้น ภายในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียงเช่น ในเมืองเดียวกันเป็นต้น
3.เครื่อข่ายบริเวณกว้าง เป็นเครื่อข่ายที่ใหญ่ขึ้นไปอีกระดับ โดยเป็นการรวมเครื่อข่ายทั้ง LAN และ MAN มาเชื่อมต่อกันเป็นเครื่อข่ายเดียว ดั้งนั้นเครื่อข่ายนี้จึงครอบคลุมพื้นที่กว้าง โดยคลอบคลุมไปทั้วประเทศหรือทั่วโลกเช่น อินเตอร์เน็ตซึ่งถือเป็นเครื่อข่ายสาธารณะที่ไม่มีใครเป็นเจ้าของ

รูปแบบโครงสร้างของเครือข่าย Network Topolgy
  การจัดระบบการทำงานของเครือข่าย มีรูปแบบโครงสร้างของเครือข่ายอันเป็นการจัดวางคอมพิวเตอร์และการเอดินสายสัญยานคอมพิวเตอร์ในเครือข่ายรวมถึงหลักการไหลเวียนข้อมูลในเครือข่ายด้วย โดยแบ่งโครงสร้างเครือข่ายหลักได้ 4 แบบ คือ
1.เครือข่ายแบบดาว
2.เครือข่ายแบบวงแหวน
3.เครือข่ายแบบบัส
4.เครือข่ายแบบต้นไม้

1.แบบดาวเป็นการต่อสายเชื่อมโยงโดยการนำสถานีต่าวๆที่ต้องการติดตอกันกับหน่วยสลับสรยกลาง การติดต่อสื่อสารระหว่างสถานีจะกระทำได้ด้วยการติดต่อผ่านทางวงจรของหน่วยสลับสายกลาง การทำงานของหน่วยสลับสายกลางจึงคล้ายกับศูนย์กลางของการติดต่อวงจรเชื่อมโยงระหว่างสถานีต่าวๆ ที่ต้องการติดต่อกัน
ลักษณะการทำงานของเครือข่ายแบบดาว
   เป็นการเชื่อมโยงการติดต่อสื่อสารที่มีลักษณะคล้ายรูปดาวหลายแฉก โดยมีสถานีกลาง หรือฮับเป็นจุดผ่านการติดต่อระหว่างทุกโหนดในเครือข่ายสถานีจึงมีหน้าที่เป็นศูนย์ควบคุมเส้นทางการสื่อสารทั้งหมด นอกจากนี้สถานีกลางยังทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางคอยจัดส่งข้อมูลใกบโหนดปลายทางอีกด้วย การสื่อสารภายใน เครือข่ายดาว จะเป็นแบบ 2 ทิศทางโดยจะอนุญาตให้มีเพียงโหนดเดียวเท่านั้น ที่สามารถส่งข้อมูล
2.แบบวงแหวน เป็นแบบที่สถานีของเครือข่ายทุกสถานีจะต้องเชื่อมต่อกับเครื่องขยายสัญญาณของตังเองโดยจะมีกากรเชื่อมโยงของสํญญาณเหล่านี้จะมีหน้าที่ในกสารรับข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ของตัวเองหรือเครื่อข่ายสัญยาณตัวก่อนหน้าและส่งข้อมูลต่อไปยังเครื่องสัญญาณตัวถัดไปเรื่อยๆเป็นวงหากข้อมูลที่ส่งป็นสถานีใด  เครื่องสัญยารของสถานีนั้นก็รับและส่งให้สถานีนั้น เครื่อข่ายสัญญาณจึงต้องมีการตรวจสอบข้อมูลที่ได้รับว่าป็นของตนเองหรือไม่ ถ้าใช่ก็รับไว้
3.เครือข่ายแบบบัส เป็นเครื่อข่ายที่เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ด้วยสายเคเบิ้ลยาว ต่อเนื่องไปเรื่อยๆ โดยจะมีอุปกรณ์ที่เป็นตัวเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปการ์เข้ากับสายเคเบิ้ล ในการส่งข้อมูล จะมีคอมพิวเตอร์เพียงตัวเดียวเทานั้นที่ส่มารถส่งข้อมูลได้ในช่วงเวลาหนึ่งๆการจัดข้อมูลวิธีนี้จะต้องกำหนดวิธีการ ที่จะไห้ทุกสถานีข้อมูลพร้อมกันเพราะจะทำให้ข้อมูลชนกัน วิธีที่อาจแบ่งเวลาหรือให้ในแต่ละสาถานีใช้ความถี่ สัญยาณที่แตกต่างกัน ในการติดต่อเครือข่ายแบบบัส 
4.แบบต้นไม้ เป็นเครือข่ายที่มีการผสมผสานโครงสร้างเครือข่ายแบบต่างๆเข้าด้วยกันเป็นเครือข่ายใหญ่ การจัดส่งข้อมูลสามารถส่งไปถึงทุกสถานีได้ การสื่อสารข้อมูลจะผ่านตัวกลางไปยังสถานีอื่นๆ ได้ทั้งหมด เพราะสถานีจะอยู่บททางเชื่อม รับส่งข้อมูลเดียวกัน

 การประยุตย์ใช้งานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
            ระบบเครือข่ายทำให้เกิดการสื่อสาร และการแบ่งปันการใช้ทรัพยากรระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะหมายความรวมถึงการสื่อสารและการแบ่งปันการใช้ข้อมูลระหว่างบุคคลด้วย

      รูปแบบการใช้งานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
   ระบบเครือข่ายแบ่งตามลักษณะการทำงาน ได้ป็น 3 ประเภทคือ
1.ระบบเครือข่ายแบบศูนย์กลาง Centrallized Networks
2.ระบบแบบเครือข่าย Peer-to Peer
3.ระบบแบบเครือข่าย Clien/Server

1.ระบบเครือข่ายแบบศูนย์กลาง
   เป็นระบบที่มีเครื่องหลักเพียงเครื่องเดียวที่ใช้ในการประมวลผล ตั้งอยู่ที่ศุนย์กลางและมีการเชื่อมต่อไปยังเครื่องเทอร์มินนอลที่อยู่รอบๆ ในการเดินสายเคเบิ้ล เชื่อมต่อกันโดยตรง เพื่อให้เครื่องเทอร์มินนอลสามารถเข้าใช้งาน
2.ระบบเครือข่าย Peer-to-peer
                แต่ละสถานีงานบนระบบเครือข่าย Peer-to-peer  จะมีความเทาเทียมกันสามรถที่จะแบ่งปันทรัพยากรให้แก่กันและกันได้ เช่น การใช้เครื่องพิมพ์หรือแฟ้มข้อมูลร่วมกันในเครือข่าย  เครื่องแต่ละสถานีงานมีขีดความสามรถในการทำงานได้ด้วยตัวเอง  คือจะต้องมีทรัพยากรภายในของตังเองเช่น ดิสก์สำหรับเก็บข้อมูล หน่วยความจำที่เพียงพอ
3.ระบบเครือข่ายแบบ Client/server
      สามารถสนันสนุนให้มีเครื่องลูกข่ายได้เป็นจำนวณมาก และสามารถเชื่อมต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ได้ในหลานสถานี ทำงานโดยมีเครื่อง sever ทำให้บริการป็นศูนย์กลางอย่างยน้อย 1 เครื่อง และมีการจัดการบริหารจักการทรัพยากรต่างๆ จากส่วนกลาง ซึ่งคล้ายกับระบบเครือข่ายแบบรวมสูนย์กลาง แต่สิ่งที่แตกต่างกันก็คือ เครื่องที่ทำกน้าที่ให้บริการในระบบ Client/server ราคาไม่แพงมาก
   ระบบเครือข่าย Client/server เป็นระบบที่มีความยืดหยุ่นสูง สนันสนุนการทำงานแบบ Muitprocssor สามารถเพิ่มขยายของจำนวนผู้ใช้ได้ตามต้องการ นอกจากนี้ยังสามารถเพิ่มจำนวน  เครื่อง Server สำหรับให้บรการต่างๆ

วันจันทร์ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ซอฟต์แวร์
(Software)
ซอฟต์แวร์  คือ การลำดับขั้นตอนการทำงานของคำสั่งคอมพิวเตอร์ที่จะทำหน้าที่สั่งคอมพิวเตอร์ว่าให้ทำอะไร เป็นชุดของโปรแกรมหลายๆโปรแกรมนำมารวมกันให้สามาถรทำงานได้อย่างครบถ้วนสมบรูณ์ตามที่ต้องการ เรามองไม่เห็นหรือสัมผัสไม่ได้แต่เราสามรถสร้าง จัดเก็บ และนำมาใช้งานหรือเผยแพร่ได้ด้วยสื่อหลายชนิดเช่น แผ่นบันทึก แผ่นซีดี แฟล็ซไดร์ฟ ฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น
หน้าที่ของซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมระหว่างใช้คอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์ เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย ซอฟต์แวร์สำหลับเคร่องคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกได้เป็นหลายประเภท

ประเภทของซอฟต์แวร์
ซอฟต์แวร์แบ่งเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ
ซอฟตืแวร์ระบบ (System Software)
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application  Software)
และซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ

1.ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
ซอฟต์แวร์ระบบเป็นโปรแกรมที่บริษัทผู้ผลิตสร่ช้างขึ้นมาเพื่อใช้การกับระบบ หน้าที่การทำงานของซอฟต์แวร์ระบบ คือ ดำเนินงานพื้นฐานต่างๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระแล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ นำข้อมูลไปแสดงผลบนหน้าจอภาพหรือ นำออกไปยังเครื่องพิมพ์ จัดการข้อมูลในระบบแป้นพิมพ์บนหน่วยความจำรอง

ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software)
Sysftem Software หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีคือ Dos, Windows, Fortran ,Pascal,Codol,C เป็นต้น
นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบเช่น Norton's  Utilities ก็นับป็นโปรแกรมสำหรับระบบด้วยเช่น
หน้าที่ของซอฟต์แวร์ระบบ

1.ใช้ในการจัดหน่วยรับเข้าและหน่วยส่งออก เช่น รับรู้การกดแป้นต่างๆ บนแผงอักขระ ส่งรหัสส่งออกทางจอภาพหรือเครื่องพิมพ์ ติกต่อกับอุปกรรับเข้าและส่งออกอื่นๆ เช่า เมาส์ ลำโพงเป็นต้น
2.ใช้ในการจัดการหน่วยความจำ เพื่อนำข้อมูลจากแผ่นบันทึกข้อมาบรรจุมายังหน่วยความจำหลัก หรือในทำนองกลับกัน คือนำข้อมูลจากหน่วยความจำหลักมาเก็บไว่ในแผ่นบันทึก
3.ใช้เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามรถใช้งานได้ง่ายขึ้น เช่น ขอดูรายการในสารบบ (directory)  ในแผ่นบันทึ การทำสำเนาแฟ้มข้อมูล
ซอฟต์แวร์ระบบพื้นฐานที่เห็นกันทั่วไป แบ่งออกเป็นระบบปฏิบัติการ และ ตัวแปลภาษา

ประเภทของซอฟตืแวร์ระบบ
ซอฟต์แวร์ระบบ แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ
1. ระบบปฏิบัติการ (Operatin Srstem: OS)
2.ตัวแปลภาษา

1. ระบบปฏิบัติการ หรือที่เรียกย่อๆ ว่า โอเอส  (Operatin Srstem :OS) เป็น
ซอฟต์แวร์ใช้ในการดูและระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัตฺการนี้ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดีเช่น ดอส วินโดวส์ ยูนิกซื ลีนุกซ์ และแมคอินทอช เป็นต้น
1. ระบบปฏิบัติการ (Operatin  Sretem: OS )

1)ดอส (Disk Operating System: DOS) เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานที่พัฒนามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษรที่รู้จักกันดีในหมู่ผู้ใช้ไมโค



2)ระบบปฏิบัติการ( Operatin sytem:OS)

2) วินโดวส์ ป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส โดยใหผู้ใช้สามรถสี่งงานได้จากเมาส์มากขึ้นแทนการใช้แผงแป้นักขระเพียงอย่างเดียวนอกจากนี้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ยังสามรถทำงานหลายง่นพร้อมกันด้ โดยงานแต่ละงานเน้นรูปแบบกราฟิก ผู้ใช้งานสามรถใช้งานเมาส์เลือนตัวชี้เพื่อเลือกตำแหน่งที่ปราฎกบนจอภาพ ทำให้ใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ง่าย
ระบบปฏิบัติการวินโดวส์จึงได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน
3)ยูนิกซ์(Unix )เป็นระบบปฏิบัติการเพื่อที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์เนระบบปฏิบัติการที่เป็นเทคโนโลยีแยยปิด (open system)  ซึ่งเป็นเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้องผูกติดกับระบบใดระบบหนึ่งหรือใช้อุปกรณ์ที่มียีห้อเดียวกัน ยูนิกซ์ยังถูกออกแบบมาเพื่อตอบสนองการใช้งานในลักษณะที่มีผู้ใช้ได้หลานคนในเวลาเดียวกันที่เรียกว่า ระบบหลายผู้ใช้ (multitasking )ระบบปฏิบัติการ
นิกซ์จึงนิยมใช้กับเครื่องที่เชื่อมโยงเป็นเครื่อข่าย เพื่อใช้งานร่วมกันหลายๆ เครื่องพร้อมกัน
4. ลีนุกซ์ linux เป็นระบบปฏิบัติการเพื่อการพัฒนามาจากระบบยูนิกซ์ เป็นระบบซึ่งมีการแจกจ่ายโปรแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนาช่วยกันพัฒนาคุณสมบัติของระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการลีนุกซ์เป็นที่นิยมกันมากขึ้นในปัจจุบัน เนื่องจากมีโปรแกรมประยุกต์ต่างๆ ที่ทำงานบนระบบลีนุกซ์จำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งโปรแกรมในกลุ่มของกูส์นิว GNU  และสิ่งที่สำคัญที่สุด
ระบบลีนุกซ์ สามารถทำงานได้บนซีพียู หลายตระกูล เช่น PC Intel ดิจิตอล Didital Aipha Computer และซันสปาร์ค SUN SPARC  ถึงแม้ว่าในขณะนี้ลีนุกซ์ยังไม่สามรถแทนที่ระบบปฏิบัติการวินโดวส์บนพีซีได้ทั้งหมดก็ตาม แต่ผู้ใช้จำนวนมากได้หันมาใช้และช่วยพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนลีนุกซ์กันมากขึ้น
5.แมคอินทอช macintosh  เป็นระบบปฏิบัติการสำหลับเครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์ แมคอินทอช ส่วนมากนำไปใช้งานด้านกราฟริก ออกแบบและจัดแต่งเอกสาร นิยมใช้สำนักพิมพ์ต่างๆ
นอกจากระบบปฏิบัติการที่กล่าวมาแล้วยังมีระบบปฏิบัติการอีกมาก เช่นระบบปฏิบัติการที่ใช้ในเครื่อข่ายคอมพิงเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานร่วมกันเป็นระบบ เช่น ระบบปฏิบัติการเน็ตแวร์ นอกจากนี้ยังมีระบบปฏิบัติการที่ใช้งานเฉพาะกับเครื่องคอมพิวเตอร์ที่สร้างขึ้นมาเพื่องานใดงานหน่งโดยเฉพาะ ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ในห้องปฏิบัติการ 

ชนิดของระบบปฏิบัติการ จำแนกตามการใช้งานสามรถจำแนกออกได้เป็น 3 ชนิดด้วยกัน คือ
1. ประเภทใช้งานเดียว  (single- tasing) ระบบปฏิบัติการประเภทนี้จะกำหนดให้คอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครั้งละหนึ่งงานเท่านั้น ใช้เครื่องขนาดเล็กอย่างไมโคคอมพิวเตอร์ เช่น ระบบปฏิบัติการ ดอส ป็นต้น
2.ประเภทใช้ได้หลายงาน Multi-tasking 
ระบบปฏิบัติการประเภทนี้สามารถควบคุมการทำงานพร้อมกันหลายงานในขณะเดียวกัน ผู้ใชข้สามรถทำงานกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้หลายชนิดในเวลาเดียวกัน เช่น ระบบปฏิบัติการ Windows 98 ขึ้นไป และ UNIX เป็นต้น

3.ประเภทใช้งานหลายคน Multi-user
ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทำหน้าที่ประมวลผล ทำให้ขณะใดขณะหนึ่งมี่ผู้ใช้คอมพิวเตอร์พร้อมกันหลายคน แต่ละคนจะมีสถานีงานของตนเองเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ จึงต้องใช้ระบบปฏิบัติการที่มีความสามรถสูง เพื่อให้ผู้ใช้ทุกคนสามรถ Windows NT และ UNIX เป็นต้น